พยัญชนะผสม หมายถึง การนำพยัญชนะตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มาผสมกันแล้วมีความหมายเป็นตัวเดียว เสียงเดียวและคำเดียวในภาษาไทย ในภาษาอังกฤษพยัญชนะผสมเท่าที่พบเห็นบ่อยและใช้บ่อยได้แก่
Ch เท่ากับ ช : ออกเสียงเหมือน ช ในภาษาไทย เช่น chalk (ชอล์ค) chair (แชร์) church (เชอช)
child (ไชล์ด)
Ch เท่ากับ ค : จะเป็นคำที่มาจากภาษากรีกและล่ตินเป็นส่วนใหญ่ เช่น Christ (คริสท) chemist
(เคมิสท)character (คาแรคเตอร์) school (สกูล, สคูล)
Sh เท่ากับ ช : ออกเสียงเบาๆ แบบเป่าลมออกจากปากนั่นเอง เช่น she (ชี) sheep (ชีพ) show (โชว์)
shell (เชลล์)
Th เท่ากับ ธ (ด) : ออกเสียงโดยเอาลิ้นดุนฟัน แล้วดันลมออกมานิดๆ ระหว่างริมฝีปาก ดูแล้วเสียง
คล้าย ด แต่ เบากว่า เช่น the (เดอะ) this (ดีส) that (แดท) father (ฟาเธอ)
Ng เท่ากับ ง : ออกเสียงที่ต้นคอแล้วดันลมขึ้นจมูกและนิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น King (คิง)
ring (ริง) spring (สปริง)
Nk เท่ากับ งค์ : กเสียงท้ายคำเป็น แคะ เบาๆ และก็นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น bank (แบงค์)
Sink (ซิ้งค์) drink (ดริ๊งค)
Ph เท่ากับ ฟ : เป็นคำที่มาจากภาษากรีกและลาติน เช่น phone (โฟน) photo (โฟโต้) phrase
(เฟรส) physical (ฟิซซิคัล)
Gh เท่ากับ ฟ : นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น laugh (ลาฟ) enough (อีนัฟ) เป็นต้น
Kn เท่ากับ น : พูดง่ายๆ ก็ คือ k ไม่ออกเสียง เช่น know (โนว) knee (นี) knife (ไนฟ์)
Wh เท่ากับ ฮ : เท่าที่สังเกตเห็นมักจะตามด้วย o เช่น who (ฮู) whom (ฮูม) whose (ฮูส)
“ Wh จะออกเสียงเป็น ว หรือมีค่าเท่ากับ ว ถ้าไม่ตามด้วย o เช่น what ว็อท
Where แวร์ Why วาย which วิช
Wr เท่ากับ ร : คือตัวw ไม่ออกเสียง เช่น wrap (แร็พ) wreath (รีธ) wrist (ริสท) wrong (รอง)
Ght เท่ากับ ท : นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น caught (คอท) fight (ไฟท์) sight (ไซท์)
K เท่ากับ ก : เช่น กร ณ ทับเจริญ , กนกวรรณ ด่านอุดม ควรเขียนด้วยภาษาอังกฤษว่า
Korn Thabcharoen ไม่ควรเขียนด้วย Gorn
Kanokwan Dan-U-Dom ไม่ควรเขียนด้วย Ganokwan
Kh เท่ากับ ข : เช่น ขอนแก่น, ขนิษฐา. ไข่ ควรเขียนด้วยอักษรภาษาอังกฤษว่า
Khonkaen ไม่ควรเขียนด้วย Konkaen
Khanitta ไม่ควรเขียนด้วย Kanitta
Khai ไม่ควรเขียนด้วย Kai เป็นต้น
Ch เท่ากับ จ : เพราะว่าฝรั่งชาติแรกที่เข้ามาประเทศไทยแล้วมาพูดคำภาษาไทยที่เป็น จ
เพี้ยนไปทาง ช (ก็คงจะให้ออกชัดอย่างไทยไม่ได้นั่นเอง) และเมื่อเขียนเป็นอักษรออกมา ก็เลยกลายเป็น ช (ch) แทน จ (J) ในที่สุดก็เลยกลายเป็นความนิยมไปทุกครั้งที่เขียน จ เป็น ชื่อเฉพาะจึงนิยมใช้แต่ ch แทน j แต่หากจะใช้ j ไปเลยก็คงไม่น่าจะผิด แต่ความนิยมอาจด้อยกว่าเท่านั้นเอง เช่น
Chulalongkorn University จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Prince Chulaporn เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์
Chuachan เจือจันทร์
Charoenkrung Road ถนนเจริญกรุง เป็นต้น
Ch เท่ากับ ช : ออกเสียงเหมือน ช ในภาษาไทย เช่น chalk (ชอล์ค) chair (แชร์) church (เชอช)
child (ไชล์ด)
Ch เท่ากับ ค : จะเป็นคำที่มาจากภาษากรีกและล่ตินเป็นส่วนใหญ่ เช่น Christ (คริสท) chemist
(เคมิสท)character (คาแรคเตอร์) school (สกูล, สคูล)
Sh เท่ากับ ช : ออกเสียงเบาๆ แบบเป่าลมออกจากปากนั่นเอง เช่น she (ชี) sheep (ชีพ) show (โชว์)
shell (เชลล์)
Th เท่ากับ ธ (ด) : ออกเสียงโดยเอาลิ้นดุนฟัน แล้วดันลมออกมานิดๆ ระหว่างริมฝีปาก ดูแล้วเสียง
คล้าย ด แต่ เบากว่า เช่น the (เดอะ) this (ดีส) that (แดท) father (ฟาเธอ)
Ng เท่ากับ ง : ออกเสียงที่ต้นคอแล้วดันลมขึ้นจมูกและนิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น King (คิง)
ring (ริง) spring (สปริง)
Nk เท่ากับ งค์ : กเสียงท้ายคำเป็น แคะ เบาๆ และก็นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น bank (แบงค์)
Sink (ซิ้งค์) drink (ดริ๊งค)
Ph เท่ากับ ฟ : เป็นคำที่มาจากภาษากรีกและลาติน เช่น phone (โฟน) photo (โฟโต้) phrase
(เฟรส) physical (ฟิซซิคัล)
Gh เท่ากับ ฟ : นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น laugh (ลาฟ) enough (อีนัฟ) เป็นต้น
Kn เท่ากับ น : พูดง่ายๆ ก็ คือ k ไม่ออกเสียง เช่น know (โนว) knee (นี) knife (ไนฟ์)
Wh เท่ากับ ฮ : เท่าที่สังเกตเห็นมักจะตามด้วย o เช่น who (ฮู) whom (ฮูม) whose (ฮูส)
“ Wh จะออกเสียงเป็น ว หรือมีค่าเท่ากับ ว ถ้าไม่ตามด้วย o เช่น what ว็อท
Where แวร์ Why วาย which วิช
Wr เท่ากับ ร : คือตัวw ไม่ออกเสียง เช่น wrap (แร็พ) wreath (รีธ) wrist (ริสท) wrong (รอง)
Ght เท่ากับ ท : นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น caught (คอท) fight (ไฟท์) sight (ไซท์)
K เท่ากับ ก : เช่น กร ณ ทับเจริญ , กนกวรรณ ด่านอุดม ควรเขียนด้วยภาษาอังกฤษว่า
Korn Thabcharoen ไม่ควรเขียนด้วย Gorn
Kanokwan Dan-U-Dom ไม่ควรเขียนด้วย Ganokwan
Kh เท่ากับ ข : เช่น ขอนแก่น, ขนิษฐา. ไข่ ควรเขียนด้วยอักษรภาษาอังกฤษว่า
Khonkaen ไม่ควรเขียนด้วย Konkaen
Khanitta ไม่ควรเขียนด้วย Kanitta
Khai ไม่ควรเขียนด้วย Kai เป็นต้น
Ch เท่ากับ จ : เพราะว่าฝรั่งชาติแรกที่เข้ามาประเทศไทยแล้วมาพูดคำภาษาไทยที่เป็น จ
เพี้ยนไปทาง ช (ก็คงจะให้ออกชัดอย่างไทยไม่ได้นั่นเอง) และเมื่อเขียนเป็นอักษรออกมา ก็เลยกลายเป็น ช (ch) แทน จ (J) ในที่สุดก็เลยกลายเป็นความนิยมไปทุกครั้งที่เขียน จ เป็น ชื่อเฉพาะจึงนิยมใช้แต่ ch แทน j แต่หากจะใช้ j ไปเลยก็คงไม่น่าจะผิด แต่ความนิยมอาจด้อยกว่าเท่านั้นเอง เช่น
Chulalongkorn University จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Prince Chulaporn เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์
Chuachan เจือจันทร์
Charoenkrung Road ถนนเจริญกรุง เป็นต้น
ขอบคุณคะ
ตอบลบยินดีครับ ที่มีประโยชน์บ้าง
ลบยินดีมากครับ
ลบด้วยความยินดีครับผม
ลบ