ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

คำสนมนาที่จำเป็น 2

Giving and receiving การให้และการรับของขวัญ
เมื่อเราต้องการจะให้ของขวัญแก่ใคร เราอาจพูดได้อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
This is for you.
Here is something for you.
Here is a little present for you.
นี่ไงของขวัญเล็กๆ น้อยๆ สำหรับคุณ
และผู้รับมักจะตอบว่า
Thank you very much.
That’s very kind of you. Thank you very much.
ขอบคุณมากๆ ครับ นั่นเป็นความใจดีของคุณ

และเมื่อเขากล่าวขอบคุณ ผู้ให้อาจกล่าวตอบไปได้ว่า

You’re welcome. ไม่เป็นไรครับ
You’re quite welcome. ไม่เป็นไรหรอกครับ ยินดีครับ
Don’t mention it. ไม่เป็นไรหรอกครับ ยินดีครับ


Invitation การเชื้อเชิญ
การเชื้อเชิญเป็นมารยาทอีกอย่างหนึ่งในสังคมมนุษย์ ดังนั้น เมื่อเราจะเชิญผู้ใด เพื่อนๆ ต้องเข้าใจหลักสากลว่าเขาใช้กันอย่างไร ไปดูกันเลย
1.I would like to invite you to dinner at my home this evening.
ผมใครขอเชิญคุณไปรับประทานอาหารมื้อเย็นที่บ้านผมเย็นวันนี้ด้วยนะครับ
2.I would like to have you come to my birth’s day party next Sunday.
ผมอยากจะให้คุณมาในงานเลี่ยงวันเกิดของผมวันอาทิตย์หน้า
3. Would you like to go to the cinema with me tonight?
คืนวันนี้คุณจะไปดูหนังกับผมได้ไหมครับ
4. Will you be able to go to the football game with us tomorrow?
วันพรุ่งนี้คุณจะไปดูฟุตบอลกับเราได้ไหมครับ

การตอบรับ
ผู้ถูกเชิญอาจตอบรับคำเชิญด้วยการขอบคุณเขาก่อนแล้วจึงบอกว่ายินดีรับคำเชิญ ดังนี้
Thank you. I’ll be glad to. ขอบคุณครับผมยินดีอย่างยิ่ง
Thank you. I’d be delighted to come ขอบคุณครับ ผมยินดีไปด้วยอย่างยิ่ง
Thank you. That’s very kind of you. I’d love to come ขอบคุณครับเป็นความกรุณาของคุณผมยินดีไปครับ
It’s very nice of you to invite me. I’d like very much to come. เป็นพระคุณอย่างยิ่งที่เชิญผม ผมยินดีจะไปอย่างยิ่งทีเดียวครับ

การตอบปฏิเสธคำเชิญ
ถือเป็นมารยาทอย่างหนึ่งในการตอบปฏิเสธ หากไปไม่ได้ก็จำต้องแสดง
ความเสียใจ หรือยินดีที่ได้รับเชิญ ซึ่งคำที่นำมาใช้ มีดังต่อไปนี้

1.I’m sorry, but I have another engagement.
ผมเสียใจครับ ผมมีนัดอื่นเสียแล้ว
2.I’m awfully sorry, but I must go to Chiengmai this evening.
ผมเสียใจอย่างยิ่งทีเดียวเพราะจะไปเชียงใหม่เย็นวันนี้เสียแล้ว
3.I would like to, but I have an appointment with the dentist tomorrow.
ผมยินดีจะไปครับ แต่พรุ่งนี้ผมได้นัดไว้กับหมอฟันแล้ว
4.I’d like to come, but I’m afraid I can’t. I’ve an important meeting tomorrow evening.
ผมยินดีจะไปครับ แต่เกรงว่าจะไปไม่ได้ เพราะเย็นวันพรุ่งนี้ผมติดประชุมครั้งสำคัญเสียด้วย
Example: Do: How about having dinner with me tomorrow?
So: Thank you. I’d love to. Where shall I meet you?
Do: Would Ban Pa restaurant be convenient?
So: Yes, that would be fine. What time?
Do: About 05.30
So: I’m afraid I can’t make it that early. Would 6 p.m. be all right?
Do: Yes, of course. There at 6 p.m.
So: Fine. See you tomorrow.

Introduction การแนะนำให้รู้จักกัน
เพื่อนๆ ครับ การแนะนำให้รู้จักกันและกันนั้น ถือเป็นมารยาทหรือวัฒนธรรมที่ดี
อันหนึ่งในสังคมมนุษย์เรา เราไปดูกันเลยว่ามีอะไรกันบ้าง

Miss Cherry. Let me introduce Mr. Tris.
คุณเชอรี่ครับ ขอให้ผมแนะนำมิสเตอร์ทริสเถอะครับ หรือจะกล่าวอย่างใดอย่างหนึ่งตามนี้ก็ได้
- Miss Cherry, may I introduce Mr. Tris?
- Miss Cherry, may I present Mr. Tris?
- Miss Cherry, allow me to introduce Mr. Tris.
- Miss Cherry, allow me to present Mr. Tris.
- Miss Cherry, I’d like you to meet Mr. Tris.
- Miss Cherry, this is Mr. Tris.
เมื่อแนะนำให้รู้จักชื่อแล้ว เรามักจะบอกให้ทราบต่อไปอีกว่า ผู้นั้นเป็นใครหรืออะไรอีกด้วย เช่น
Miss Cherry, this is Mr. Tris, a class mate of mine.
คุณเชอรี่ครับ นี่คือคุณทริส เพื่อนร่วมชั้นเรียนของผม
Mr. Rooney, allow me to introduce Mr. Ronaldo, an old friend of mine.
คุณรูนี่ย์ครับ ขอให้ผมได้แนะนำให้รู้จักโรนัลโด้เพื่อนเก่าของผม

How do you do? การทักทายด้วย How do you do?
คำนี้จะนำมาใช้เป็นคำทักทายก็ต่อเมื่อได้รับการแนะนำให้รู้จักกันแล้ว เหมือน
สวัสดี ในภาษาไทนของเราไม่เชิงเป็นการถามทุกข์สุขอะไรมากรัก ฉะนั้นฝ่ายที่ได้รับการ
แนะนำก็จะกล่าวทักทายว่า How do you do? อีกฝ่ายหนึ่งก็จะตอบกลับคำเดียวกันว่า
How do you do? เช่น
Rooney: Mr. Ronaldo, this is Nani, a friend of mine.
Mr. Ronaldo: How do you do?
Mr. Nani: How do you do? (พูดกับโรนัลโด)
หลังการกล่าวทักทายกันแล้ว ทั้งคู่อาจกล่าวเพิ่มเติมด้วยประโยคต่อไปนี้อีกก็ได้
1. I’m very glad to meet you. 2. It’s great pleasure for me to meet you. ดีใจมากที่ได้พบคุณ

Self-Introduction การแนะนำตนเองเพื่อนๆ ครับในบางครั้งบางโอกาส ไม่มีผู้แนะนำเรา แต่เรา
ต้องการให้เขารู้จักตัวเรา เราจะแนะนำตัวเราเองได้อย่างไร สามารถทำได้ดังนี้

1. Excuse me. My name is Yotsak Sukkasem.
โทษครับ ผมชื่อยศศักดิ์ สุขเกษม
2. Let me introduce myself. My name is Ferdinand.
ผมขอแนะนำตัวเองหน่อยครับ ผมชื่อเฟอร์ดินานด์ครับ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

English Camp Songs

1 .Hello Hello, Hello, Hello Hello, how do you do? I’m grade to be with you And you, and you, and you ☺Da, da, da, da, da, da, da, da, da, da, da, da, ( 2 times) 2. Happiness Happiness is in my heart. Happiness is in your heart Happiness is in my heart And in your heart Lun lun lun la, Lun lun lun la, Lun lun lun la. 3. I have a joy I have a join, join, join, join, Down in my heart. Down in my heart I have a join, join, join, join Down in my heart. Down in my heart Down in my heart today. (2 times) 4. Hello Good morning Hello Good morning, Hello good morning. How are you? How are you? I’m fine’ Thank you (2 times) - Hello Good Afternoon - Hello Good evening 5. Wait Wait I wait for you But I don’t know where are you. When will you, when will you Come to me. I want to see you be around. 6. Wincey Wincey Wincey Wincey spider climb up the water spout. Dow came the rain and washed the spider our Out came the sun and dried up on theRain. Win

เสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษ

เสียงพยัญชนะที่ยากต่อการออกเสียงของคนไทยคือ CH, G, L, R, S, SH, TH, V, W, X, และ Z เสียงพยัญชนะส่วนใหญ่จะเป็นไปตามที่มีการเรียนการสอน โดยเสียงบางคำจะมีการดัดแปลงให้ง่ายต่อการออกเสียง หรืออาจจะมีการอ่านตาม ภาษาอังกฤษสำเนียงอังกฤษ เสียงพยัญชนะทั้งหมดเรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษดังนี้ B -- บ ใบไม้ เช่น boy บอย C -- เป็นได้ทั้ง ซ โซ่ และ ค ควาย และ ก ไก่ โดยส่วนมากจะใช้ --CA, CO, CU -- ค ควาย เช่น car คาร์, come คัม, cute คิ้วท์ --CE, CI, CY -- ซ โซ่ เช่น cell เซลล์, city ซิตี้, cylinder ไซลินเดอร์ --SC -- ก ไก่ เช่น scar สการ์, screen สกรีน, scuba สกูบา อย่างไรก็ตาม มีหลายคำที่ไม่ได้เป็นไปตามข้อกำหนด D -- ด เด็ก เช่น dog F -- ฟ ฟัน เช่น fun G -- จะไม่มีเสียงในภาษาไทย แต่จะเป็นเสียงควบของ ก ไก่ กับ ง งู หรือ เสียงควบของ จ จาน กับ ย ยักษ์ -- GA, GE, GO, GU - ออกเสียง ก-ง เช่น gas แก๊ส, get เก็ท, golf กอล์ฟ, gun กัน -- GI - ออกเสียง จ-ย เช่น gigabyte จิกะไบต์ กับ gigantic ไจแกนติค H -- อ่านว่า เอช (ในอังกฤษอเมริกัน) ออกเสียง เหมือน ห หีบ และ ฮ นกฮูก เช่น hello เฮลโล J -- จ จ

รูปสระผสมของภาษาอังกฤษ U

U เท่ากับสระ อุ และ อั u ไปเป็นสระตัวเดียวของพยัญชนะต้นที่เป็นตัว f, p มักจะออกเสียงเป้นสระ อุ เช่น full ฟูล เต็ม, ทั้งสิ้น fulsome ฟูลซัม มากมาย put พุท ผลัก, ดัน pull พุล ดึง, ฉุด, ลาก u ไปเป็นสระตัวเดียวของพยัญชนะต้นตัวอื่นนอกจาก f, p มักจะออกเสียงเป็น อั เช่น but บัท แต่ cut คัท ตัด dun ดัน ทวงถาม nun นัน นางชี u ไปเป็นสระตัวเดียวในคำตั้งแต่ 2 พยางค์ขึ้นไป จะออกเสียงเป็น อิ บ้าง อั บ้าง เป็น อุ บ้าง อู บ้าง ทั้งนี้ต้องหมั่นถามผู้รู้กว่า หรือไม่ก็ดูในพจนานุกรมเพิ่มเติม human ฮิวมัน มนุษย์ manufactory แม็นนิวแฟ็คโทรี โรงงาน status สเททัส สถานะ ruthless รูธเลส เหี้ยมโหด Notice! กฎ 3 ข้อ เกี่ยวกับ u ที่กล่าวมา เป็นเพียงข้อสังเกตง่ายๆ เพื่อช่วยให้ผู้เริ่มเรียนไม่สับสนในขั้นเบื้องต้นเท่านั้นเอง หาได้เป็นกฎหรือหลักเกณฑ์ตายตัวไม่ ดังนั้นหากไปพบคำบางคำไม่ได้อ่านตามกฎ ที่ว่ามาก็อย่าได้สงสัยหรือแปลกใจนะครับ เช่น ดังต่อไปนี้ u ในคำต่อไปนี้ให้อ่านออกเสียงเป็น ย และเป็นสระ อู ให้กับตัวมันเองไปในตัวเลย ได้แก่ uniform ยูนิฟอร์ม เครื่องแบบต่างกาย unit ยูนิท หน่วย university